การพูดแสดงความคิดเห็น เป็นการใช้ทักษะ การฟัง การอ่าน การพูด และการคิดให้สัมพันธ์กัน ต้องอาศัยการฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ เพราะการพูดแสดงความคิดเห็นผู้พูดต้องใช้ทั้งความรู้ ความคิด เหตุผลหรือหลักการต่าง ๆ หลายอย่างประกอบกัน ความคิดเห็นจึงจะมีคุณค่าน่าเชื่อถือ มารยาทในการพูด การพูดของคนเราจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีหลักเกณฑ์ รู้จักกาลเวลา และที่สำคัญต้องคำนึงถึงมารยาทที่ดีในการพูดด้วย มารยาทในการพูดแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. มารยาทในการพูดระหว่างบุคคล 2. มารยาทในการพูดในที่สาธารณะ มารยาทในการพูดระหว่างบุคคล มีดังนี้ 1. เรื่องที่พูดควรเป็นเรื่องที่ทั้ง 2 ฝ่าย มีความสนใจและพอใจร่วมกัน 2. ไม่พูดเรื่องของตนเองมากจนเกินไป ควรฟังในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งพูด ไม่สอดแทรกเมื่อเขาพูดยังไม่จบ 3. พูดตรงประเด็น อาจออกนอกเรื่องบ้างพอผ่อนคลายอารมณ์ 4. เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่บังคับให้ผู้อื่นเชื่อหรือคิดเหมือนตน มารยาทในการพูดในที่สาธารณะ การพูดในที่สาธารณะต้องรักษามารยาทให้มากกว่าการพูดระหว่างบุคคล เพราะการพูดในที่สาธารณะนั้นย่อมมีผู้ฟังซึ่งมาจากที่ต่างๆกัน มีวัยวุฒิ คุณวุฒิ และพื้นฐานความรู้ความสนใจและรสนิยมต่างกันไป มารยาทในการพูดระหว่างบุคคลอาจนำมาใช้ได้และควรปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้ 1.

06-ข้อสังเกตเกี่ยวกับมารยาทในการสื่อสาร - ภาษาไทย ม.5

สี ผม สาว มหา ลัย

มารยาทในการพูดระหว่างบุคคล 2. มารยาทในการพูดในที่สาธารณะ มารยาทในการพูดระหว่างบุคคล มีดังนี้ 1. เรื่องที่พูดควรเป็นเรื่องที่ทั้ง 2 ฝ่าย มีความสนใจและพอใจร่วมกัน 2. ไม่พูดเรื่องของตนเองมากจนเกินไป ควรฟังในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งพูด ไม่สอดแทรกเมื่อเขาพูดยังไม่จบ 3. พูดตรงประเด็น อาจออกนอกเรื่องบ้างพอผ่อนคลายอารมณ์ 4. เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่บังคับให้ผู้อื่นเชื่อหรือคิดเหมือนตน มารยาทในการพูดในที่สาธารณะ การพูดในที่สาธารณะต้องรักษามารยาทให้มากกว่าการพูดระหว่างบุคคล เพราะการพูดในที่สาธารณะนั้นย่อมมีผู้ฟังซึ่งมาจากที่ต่าง ๆ กัน มีวัยวุฒิ คุณวุฒิ และพื้นฐานความรู้ ความสนใจและรสนิยมต่างกันไปมารยาทในการพูดระหว่างบุคคลอาจนำมาใช้ได้และควรปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้ 1. แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยเหมาะแก่โอกาสและสถานที่ 2. มาถึงสถานที่พูดให้ตรงเวลาหรือก่อนเวลาเล็กน้อย 3. ก่อนพูดควรแสดงความเคารพต่อผู้ฟังตามธรรมเนียมนิยม 4. ไม่แสดงกิริยาอาการอันไม่สมควรต่อหน้าที่ประชุม 5. ใช้คำพูดที่ให้เกียรติแก่ผู้ฟังเสมอ 6. ไม่พูดพาดพิงถึงเรื่องส่วนตัวของบุคคลอื่นในที่ประชุม 7. ไม่พูดหยาบโลนหรือตลกคะนอง 8.

มารยาทในการพูด

แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยเหมาะแก่โอกาสและสถานที่ 2. มาถึงสถานที่พูดให้ตรงเวลาหรือก่อนเวลาเล็กน้อย 3. ก่อนพูดควรแสดงความเคารพต่อผู้ฟังตามธรรมเนียมนิยม 4. ไม่แสดงกิริยาอาการอันไม่สมควรต่อหน้าที่ประชุม 5. ใช้คำพูดที่ให้เกียรติแก่ผู้ฟังเสมอ 6. ไม่พูดพาดพิงถึงเรื่องส่วนตัวของบุคคลอื่นในที่ประชุม 7. ไม่พูดหยาบโลนหรือตลกคะนอง 8. พูดให้ดังพอได้ยินทั่วกันและไม่พูดเกินเวลาที่กำหนด การสื่อสารด้วยการพูดไม่ว่าจะเป็นการพูดกับคนเพียงคนเดียวหรือพูดกับคนจำนวนมาก จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้พูดทุกคนต้องมีมารยาท ถ้าขาดหรือละเลยต่อมารยาทในการพูด แล้วอาจทำให้การพูดประสบความล้มเหลว หรือไม่ประสบความสำเร็จได้

มารยาทในการพูด | fewapidechblog

มารยาทการสื่อสาร ที่ควรระวัง

  1. Fifty shades of grey นัก แสดง pictures
  2. รูป ตัว เงิน ตัว ทอง การ์ตูน
  3. 2020 Koenigsegg Jesko ไฮเปอร์คาร์รุ่นใหม่ 1,600 PS ตัวแทนของ Agera - motortrivia
  4. Mi 8 lite 6 128 ราคา r
  5. รับสมัคร เจ้าหน้าที่สวัสดิการ - TODAYJOB
  6. Mitsubishi econo 9000 btu ราคา
  7. รวมโปรเจกต์วันเกิดเนเน่ของแฟนไทย จากบ้าน NeonProject บริจาค - Twentyfour-news
  8. Tatcha silk canvas primer รีวิว gel
  9. เน็ต ค่าย ไหน ดี สุด 2020
ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน asean economic community aec ชิน ราช ใบเสมา เนื้อ ทองเหลือง