1. Krungsri Asset Management - เรียนรู้เกี่ยวกับการลงทุน
  2. กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
  3. กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ - UOB Asset Management
  4. บริษัท ทํา ความ สะอาด บ้าน pantip
  5. Marshall stockwell 2 ดี ไหม

ใครมั่นใจว่ามีเงินพอใช้หลังเกษียณแล้ว... ยกมือขึ้น! สำหรับคนที่ต้องการลงทุนในระยะยาวเราก็ได้รู้จักกองทุน LTF จาก บทความก่อนหน้า กันแล้ว บทความนี้เราจะชวนคุณมาวางแผนชีวิตหลังเกษียณต่อ บางคนอาจจะรู้สึกว่าการเกษียณเป็นเรื่องไกลตัว ยังไม่จำเป็นต้องรีบคิดก็ได้ แต่ถ้าเป้าหมายชีวิตของคุณต้องการมีเงินเก็บไว้ใช้จ่ายอย่างสุขสบาย มีความมั่นคงและไร้ความกังวลตอนบั้นปลายชีวิต การลงทุนในกองทุน RMF ถือเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างมาก ดังนั้น บทความนี้เราจะเจาะลึกเกี่ยวกับกองทุน RMF และทำไมคุณจึงควรลงทุนใน RMF ตั้งแต่ตอนนี้ RMF คืออะไร?

Krungsri Asset Management - เรียนรู้เกี่ยวกับการลงทุน

ยิ่งซื้อมาก ยิ่งประหยัดภาษีมาก นอกจาก RMF จะสนับสนุนการออมเงิน ผู้ลงทุนยังได้ สิทธิพิเศษลดหย่อนภาษี หากทำตามเงื่อนไขการลงทุน ผู้ลงทุนจะต้องลงทุนขั้นต่ำ 3% ของเงินได้ในปีภาษี หรือ 5, 000 บาท (นับจำนวนที่ต่ำกว่าเป็นเกณฑ์) และสูงสุดไม่เกิน 15% ของเงินได้นั้น และเมื่อรวมกับเงินที่ส่งเข้ากองทุนสำรองเลี่ยงชีพ หรือ กบข.

กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ

ศ. 2546

กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ - UOB Asset Management

บริษัท ทํา ความ สะอาด บ้าน pantip

Marshall stockwell 2 ดี ไหม

ผู้ลงทุนจะต้องลงทุนอย่างสม่ำเสมอในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพอย่างน้อยปีละครั้ง และต้องไม่ระงับการลงทุนเกินกว่า 1 ปีติดต่อกัน ยกเว้นปีนั้นไม่มีรายได้ก็ไม่ต้องลงทุน 2. ผู้ลงทุนต้องลงทุนอขั้นต่ำ 3% ของเงินได้ในปีนั้น หรือ อย่างน้อย 5, 000 บาทต่อปี แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า 3. ผู้ลงทุนจะต้องลงทุนเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 5 ปี และ ลงทุนจนมีอายุครบ 55 ปี ถ้าผู้ลงทุนละเมิดเงื่อนไขใน 3 ข้อแรก หรือทำการขายบางส่วน ของกองทุน ก่อนครบระยะเวลาการลงทุน พร้อมทั้งผู้ลงทุนได้ประโยชน์ทางภาษีที่ได้รับในช่วงเวลา 5 ปีเรียบร้อยแล้ว 4. ผู้ลงทุนสามารถนับระยะเวลาการถือหน่วยลงทุน ในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพใหม่นี้ ต่อเนื่องกับระยะเวลาการลงทุนเดิมได้ 5. ถ้าผู้ลงทุนได้ลงทุนมาเป็นเวลาอย่างน้อย 5 ปี และ มีอายุ 55 ปีขึ้นไป หรือ เป็นบุคคลทุพพลภาพ ผู้ลงทุนสามารถถือครองหน่วยลงทุน ในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพต่อไปได้ โดยจะซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มเติม หรือไม่ก็ได้ 6. เงินรายได้ที่ลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ และ ได้นำไปหักภาษีเรียบร้อยแล้ว เงินรายได้นี้ไม่สามารถนำไปหักภาษีได้อีกในปีต่อไป 7. ผู้ลงทุนไม่สามารถนำหน่วยลงทุนของกองทุนรวม เพื่อการเลี้ยงชีพไปจำหน่ายจ่ายโอน จำนำ หรือนำไปเป็นหลักประกัน ประเภทเงินรายได้ที่อยู่ในข้อกำหนดของการลงทุน เงินได้จากการจ้างแรงงาน เช่น ค่าจ้าง เงินเดือน โบนัส เบี้ยเลี้ยง บำเหน็จ บำนาญ เป็นต้น เงินรายได้จากการรับทำงานให้ เงินรายได้จากค่าลิขสิทธิ์ เงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระ เช่น ด้านกฎหมาย การแพทย์ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี และ ศิลปกรรม เป็นต้น เงินได้จากการรับโอนมาทางมรดก เงินได้จากธุรกิจการพาณิชย์ การเกษตร อุตสาหกรรม และ การขนส่ง กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพลงทุนในอะไร?

และเบี้ยประกันแบบบำนาญแล้วไม่เกิน 500, 000 บาทต่อปี ลงทุนต่อเนื่องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ห้ามหยุดลงทุนติดต่อกันเกิน 1ปี โดยต้องถือหน่วยลงทุนจนถึงอายุ 55 ปี และลงทุนต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 5 ปี กรณีผิดเงื่อนไขการลงทุนในกองทุน RMF ผู้ลงทุนต้องชำระคืนสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่เคยได้รับมาในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 5 ปีปฎิทิน (นับย้อนหลังตั้งแต่ปีก่อนปีที่ปฏิบัติผิดเงื่อนไข) และต้องนำเงินผลประโยชน์ (Capital Gain) ที่ได้จากการขายคืนไปรวมกับเงินได้ เพื่อชำระภาษีตามข้อกำหนดของกรมสรรพากร ย้อนกลับ

สิทธิประโยชน์ทางภาษี กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund: RMF) เป็นกองทุนรวมที่มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการออมและการลงทุนของบุคคล เพื่อเตรียมความพร้อมไว้สำหรับการเกษียณอายุอย่างมีคุณภาพ ผู้ลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่มากกว่าการลงทุนในกองทุนรวมทั่วไปเพื่อเป็นการจูงใจ เงินซื้อหน่วยลงทุนใน RMF จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามที่จ่ายจริง และสูงสุดไม่เกิน 30% ของเงินได้พึงประเมินในแต่ละปี โดยเมื่อนับรวมกับเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ก. บ. ข. )

  1. Krungsri Asset Management - เรียนรู้เกี่ยวกับการลงทุน
  2. โซ ล่า เซลล์ 5000w ราคา ถูก
  3. Toyota altis sport 2014 ราคา interior
  4. โปร audition mobile th 2019 2020
  5. สมาชิก charles keith ไทย net worth
  6. แบบ ฝึก verb to be
แอ ม พูล เป ป ไท ด์
  1. จิ๊ ก ซอ ว์ หินทราย ติด ผนัง
  2. ลาย กรอบ กระดาษ สวย ๆ
  3. ขอ แบ่ง จ่าย บัตร เครดิต