โรคกล่องเสียงและหลอดลมใหญ่อักเสบเฉียบพลัน หรือ โรคครูป เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสของกล่องเสียง และหลอดลมใหญ่ โดยไวรัสที่เป็นสาเหตุและพบบ่อย ได้แก่ ไวรัสกลุ่ม parainfluenza, influenza, RSV, และ measles การติดเชื้อไวรัสดังกล่าวทำให้เกิดอาการทางเดินหายใจอุดกั้นเฉียบพลัน พบบ่อยในเด็กเล็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี ซึ่งทางเดินหายใจยังมีขนาดเล็ก อาการของโรคครูป เป็นอย่างไร? เด็กๆ ที่เป็นโรคนี้มักมีอาการหวัดนำมาก่อน หลังจากนั้น 1-3 วัน การอักเสบติดเชื้อจะลุกลามลงไปยังกล่องเสียงและหลอดลม ทำให้เกิดการบวมและการอุดกั้นของทางเดินหายใจ จึงมีอาการหายใจลำบาก หายใจเสียงดัง (stridor) โดยเฉพาะเวลาหายใจเข้า ถ้ามีอาการมากจะเป็นทั้งหายใจเข้าและออก ไอเสียงก้อง โดยถ้าเป็นมากๆ จะมีเสียงไอเหมือนสุนัขเห่า เสียงแหบ หายใจเหนื่อย หากมีอาการรุนแรงจะตรวจร่างกายพบอาการอุดกั้นทางเดินหายใจ เช่น หายใจจมูกบาน กล้ามเนื้อหน้าอกบุ๋มขณะหายใจ ตัวเขียวจากการขาดออกซิเจน และฟังปอดพบเสียงการหายใจที่ผิดปกติได้ จะทราบได้อย่างไรว่าลูกเป็นโรคครูป? คุณหมอจะวินิจฉัยโรคนี้จากอาการและอาการแสดงของการอุดกั้นทางเดินหายใจเฉียบพลันข้างต้น ในเด็กเล็กกลุ่มอายุที่เข้าได้คือ 6 เดือนถึง 3 ปี การตรวจเพิ่มเติมเพื่อช่วยในการวินิจฉัย โรคกล่องเสียงและหลอดลมใหญ่อักเสบเฉียบพลัน ทำได้โดยการเอ็กซเรย์ภาพรังสีคอ โดยถ่ายด้านตรงจะพบการตีบแคบของบริเวณใต้กล่องเสียงคล้ายปลายดินสอแหลม หากลูกเป็นโรคครูปควรจะรักษาอย่างไร?

สัญญาณโรคครูป กลุ่มอาการครู๊ป croup syndrome ไอเสียงแปลก คล้ายหมาเห่า

ลองสังเกตดูว่า ลูกไอเสียงก้อง หรือไม่?

Tag ลูกหอบ | Created Date September 25, 2019 ครูป (Croup) คือ โรคที่เกิดจากการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ พบบ่อยในเด็กเล็ก ช่วงอายุ 6 เดือนถึง 3 ปี โดยส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส เช่น เชื้อพาราอินฟลูเอนซา (Parainfluenza), ไวรัส อาร์ เอส วี (RSV) และ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ (influenza) เป็นต้น เมื่อมีการติดเชื้อจะทำให้เกิดการอักเสบบริเวณกล่องเสียงลงไปจนถึงบริเวณหลอดลมส่วนต้น ส่งผลให้หลอดลมบวม ตีบแคบ และเนื่องจากทางเดินหายใจของเด็กมีขนาดเล็ก จึงทำให้มีอาการแสดงที่ชัดเจน ลูกน้อยเป็นครูปหรือไม่?

  1. โหลด แอ พ smart watch y1 battery
  2. 5 ภาพยนตร์ของชาว Skinhead: ทรงผมที่แฝงไว้ด้วยนัยยะทางการเมือง | THE MOMENTUM
  3. แนะนำหนังแอคชั่นน่าดู โหด มันส์ ทะลุจอ - ดูหนังออนไลน์ฟรี ดูหนังออนไลน์ 4K
  4. เหงือก บวม อักเสบ กิน ยา อะไร
  5. Baanmaichaiklong Resort บ้านไม้ชายคลอง รีสอร์ท ปราจีนบุรี Prachin Buri ประเทศไทย | HotelsThaiLoc
  6. หมอ ทํา คลอด เก่ง ๆ
  7. โรค ค รู๊ ป คือ ใคร
  8. พาร์ค ออริจิ้น ราชเทวี กวาดยอดรอบ VVIP ทะลุ 50% | Livinginsider
  9. เหรียญ พระ ราหู วัด ศรีษะ ทอง
  10. ดู หนัง ปี เตอร์ แร บ บิท

สัญญาณโรคครูป สัญญาณโรคครูป ไอเสียงก้อง หายใจลำบาก เตือนโรคครูปในเด็ก ไม่น่าเชื่อว่า แค่กลิ่นบุหรี่บนเสื้อพ่อ ทำลูกไอเสียงแปลกๆ คล้ายเสียงหมาเห่า แบบนี้แหละ กลุ่มอาการครู๊ป croup syndrome ลูกไอคล้ายเสียงหมาเห่า สัญญาณโรคครูป ลูกเป็นโรคครูปกลิ่นบุหรี่บนเสื้อพ่อ แม้พ่อไม่ได้สูบบุหรี่ในบ้าน ลูกก็ป่วยได้นะพ่อจ๋า!

ผู้ป่วยที่มีอาการหายใจหอบและมีเสียงฮื้ด (Stridor) ซึ่งแสดงว่ามีภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น นอกจากโรคนี้แล้ว ยังอาจเกิดจากคอตีบ สำลักสิ่งแปลกปลอม กล่องเสียงบวมจากการแพ้ สปาสโมดิกครู้ป ฝากกล่องเสียงอักเสบเฉียบพลัน 2. เด็กที่เคยเป็นโรคครู้ปชนิดรุนแรง บางรายอาจกลายเป็นโรคภูมิแพ้หรือโรคหืดเมื่อโตขึ้น การรักษา 1. ถ้ามีอาการเพียงเล็กน้อย คือ มีไข้ ไอเสียงก้องมีเสียงอื้ดเป็นบางครั้งเฉพาะเวลาร้องไห้หรือเคลื่อนไหวร่างกาย โดยที่เด็กยังรู้สึกร่าเริง กินได้ ไม่อาเจียน ก็ให้การรักษาตามอาการ (เช่น ให้ยาลดไข้ - พาราเซตามอล) ให้เด็กดื่มน้ำมากๆ หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ ให้ความชื้นโดยการวางอ่างน้ำไว้ข้างตัวเด็ก ขณะมีอาการกำเริบให้เด็กสูดไอน้ำอุ่น เช่น เป็นน้ำอุ่นจากก๊อกน้ำในห้องน้ำขณะปิดประตูห้องน้ำ แล้วนำเด็กเข้าไปอยู่ในนั้น นานอย่างน้อย 10 นาที หรือใช้ผ้าขนหนูจุ่มน้ำอุ่นให้หมาด ๆ แล้วนำมาจ่อใกล้ปากและจมูกเด็ก สังเกตอาการอย่างใกล้ชิดทุกวัน ส่วนใหญ่มักจะหายไต้ภายใน 3-7 วัน 2. ถ้ามีอาการเสียงฮื้ดขณะพักอยู่นิ่ง ๆ หายใจลำบาก ซี่โครงและลิ้นปี่บุ๋ม ปากเขียว เล็บเขียว กลืนลำบาก กินไม่ได้ มีภาวะขาดน้ำ กระสับกระส่ายหรือซึม ควรส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว มักจะวินิจฉัยจากอาการเป็นหลัก บางครั้งอาจต้องตรวจพิเศษ เช่น เอกซเรย์ ใช้กล้องส่องตรวจกล่องเสียง (laryngoscopy) ตรวจหาเชื้อก่อโรค ตรวจเลือดเป็นต้น การรักษา ในรายที่มีอาการรุนแรง จำเป็นต้องรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล ให้การรักษาโดยให้ออกซิเจนพ่นฝอยละอองน้ำ ให้ความชื้น ให้ยาลดการอักเสบและการบวมของเยื่อบุกล่องเสียง ได้แก่ ยาสตีรอยด์ ชนิดใดชนิดหนึ่งดังนี้ เดกซาเมทาโชน ขนาด 0.

โรคครูป... อันตรายที่พ่อแม่ไม่ควรมองข้าม Posted by: Phyathai Hospital Review: ★ แพทย์

6 มก. /กก. ฉีด เข้ากล้ามครั้งเดียว หรือให้กินขนาด 0. 15 มก. ครั้งเดียว (ขนาดยาทั้งหมดไม่ควรเกิน 10 มก. /ครั้ง) เพร็ดนิโซโลนให้กินขนาด 1 มก. ทุก 12 ชั่วโมง (ไม่ควรเกิน 60 มก. /วัน) จนกระทั่ง 24 ชั่วโมงหลังจากอาการดีขึ้นแล้วหรือถอดท่อช่วยหายใจได้แล้ว ใช้สตีรอยด์ชนิดพ่น (เช่น budosenide) แทนชนิดกินหรือฉีด นอกจากนี้ยังอาจให้ยาอะดรีนาลินชนิดพ่น (nebulized adrenaline) ส่วนยาปฏิชีวนะจะให้เฉพาะในรายที่มีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน ในรายที่หายใจลำบาก ปากเขียว มีภาวะขาดออกซิเจน จำเป็นต้องใส่ท่อหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ผลการรักษา ส่วนใหญ่มักจะหายได้เป็นปกติ มีส่วนน้อยที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง และมีอัตราตายต่ำมาก การป้องกัน ปฏิบัติเช่นเดียวกับการป้องกันไข้หวัด ที่สำคัญคือ อย่าสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย และหมั่นล้างมือด้วยน้ำกับสบู่

เนื่องจากโรคนี้เกิดจากการติดเชื้อไวรัส จึงสามารถหายเองได้ในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน แต่อาจมี ภาวะแทรกซ้อน ที่ต้องเฝ้าระวังก็คือ ปอดบวม และการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน ที่อาจทำให้ระยะเวลาการดำเนินโรคยาวนานและมีอาการรุนแรงกว่าปกติได้ เราจะป้องกันไม่ให้ลูกเป็นโรคครูปได้อย่างไร? การป้องกันโรคกล่องเสียงและ หลอดลม ใหญ่อักเสบเฉียบพลัน ใช้หลักการเดียวกับการป้องกันโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสในระบบ ทางเดินหายใจ อื่นๆ ก็คือการหลีกเลี่ยงไม่ให้เด็กเล็กอยู่ในที่ชุมชนคนเยอะ ไม่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการติดเชื้อทางเดินหายใจนะคะ บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ ลูกมีน้ำมูกเรื้อรัง…เกิดจากไซนัสอักเสบได้หรือไม่? สีของขี้มูกบอกอะไรคุณ มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

จะอ่านบทความ จะเก็บบทความไว้อ่านทีหลัง หรือจะแชร์บทความให้คนที่เราเป็นห่วง ก็ง่ายกว่าเดิมเยอะ คนอื่นไม่ต้องเสียใจ ให้เราส่ง sms แจ้งเตือนคุณเมื่อแอปพร้อม ได้เลย! ขอบคุณที่วางใจ ทุกเรื่องสุขภาพอุ่นใจ ให้ HonestDocs (ออเนสด็อกส์) คุณหมอมือถือ ดูแลคุณ ❤️